มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Faculty of Humanities Mahachulalongkornrajavidyalaya University

ประวัติ พระครูสังฆรักษ์ เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร.

พระครูสังฆรักษ์ เอกภัทร อภิฉนฺโท, รองศาสตราจารย์ ดร.

ตำแหน่ง

  • รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาจิตวิทยา
  • คณบดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชีวิตและความตาย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชีวิตและความตาย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การศึกษา

  • Ph.D. (Industry Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๔๔)
  • M.A. (Clinical Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๓๗)
  • พธ.ม. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๗)
  • พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ.​ ๒๕๕๓)
  • พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ.​ ๒๕๓๓)

สถานที่ทำงาน

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี (รายวิชา)

  1. ปรัชญาเบื้องต้น
  2. ชีวิตกับจิตวิทยา
  3. ประวัติและแนวคิดทางจิตวิทยา
  4. จิตวิทยาการรู้คิดและปัญญา
  5. จิตวิทยาสังคมและวัฒนธรรมไทย

ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท (รายวิชา)

  1. จิตวิทยาชีวิตและความตาย
  2. พุทธจิตวิทยา
  3. ทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
  4. ทักษะการปรึกษาทางจิตวิทยาชีวิตและความตาย
  5. สัมมนาชรามรณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

  1. พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. (๒๕๖๐). “การเสริมสร้างสุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุในสํานักปฏิบัติธรรมกรุงเทพมหานคร”. ทุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับสภาวิจัยแห่งชาติ. (จำนวน ๑๒๕ หน้า).
  2. พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, ศักดิ์ชัย สักกะบูชา, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร., นาฏนภางค์ โพธิ์ไพจิตร์ “โมเดลเชิงสาเหตุของครอบครัวเข้มแข็งในสังคมไทย”. (๒๕๖๔). สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับสภาวิจัยแห่งชาติ. (จํานวน ๑๑๕ หน้า)
  3. พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. พระปราโมทย์ วาทโกวิโท, คชาภรณ์ คําสอนทา. (๒๕๖๒). “ปัจจัยคัดสรรเชิงพุทธที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ”. ได้รับทุนจาก สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (จํานวน ๑๔๕ หน้า)

บทความวิจัย/วิชาการ

  1. พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. “การเสริมสร้างสุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุในสํานัก ปฏิบัติธรรมกรุงเทพมหานคร” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ บัณฑิตวิทยาลัย มจร. ปีท่ี ๑๔ ฉบับท่ี ๓เดือนกันยายน –ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑.(TCI.1)
  2. พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, ศักดิ์ชัย สักกะบูชา, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ. ดร., นาฏนภางค์ โพธิ์ ไพจิตร์ “โมเดลเชิงสาเหตุของครอบครัวเข้มแข็งในสังคมไทย”วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑เดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕. (TCI.2)
  3. พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. พระปราโมทย์ วาทโกวิโท, คชาภรณ์ คําสอนทา. (๒๕๖๒) “ปัจจัยคัดสรรเชิงพุทธที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ” วารสารสันติ ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับท่ี ๓เดือนพฤษภาคม –กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒.(TCI.2)

ผลงานตำราและหนังสือ

  1. พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. ชีวิตกับจิตวิทยา. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๖๑. จำนวน ๔๐๐ หน้า.
  2. พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. ประวัติและแนวคิดทางจิตวิทยา. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ๒๕๖๓. จำนวน ๓๓๕ หน้า.
  3. พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. จิตวิทยาชีวิตและความตาย. โรงพิมพ์สาละพิมพ์ การพิมพ์กรุงเทพมหานคร. ๒๕๖๔. จํานวน ๒๒๑ หน้า.

กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา

  • มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • มหาวิทยาลัยมหิดล