พระครูสังฆรักษ์ เอกภัทร อภิฉนฺโท, รองศาสตราจารย์ ดร.
ตำแหน่ง
- รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาจิตวิทยา
- คณบดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ผู้อำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชีวิตและความตาย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ผู้อำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชีวิตและความตาย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การศึกษา
- Ph.D. (Industry Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๔๔)
- M.A. (Clinical Psychology), Marathwada University, India (พ.ศ. ๒๕๓๗)
- พธ.ม. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๗)
- พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๓)
- พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๓)
สถานที่ทำงาน
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170
ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี (รายวิชา)
- ปรัชญาเบื้องต้น
- ชีวิตกับจิตวิทยา
- ประวัติและแนวคิดทางจิตวิทยา
- จิตวิทยาการรู้คิดและปัญญา
- จิตวิทยาสังคมและวัฒนธรรมไทย
ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท (รายวิชา)
- จิตวิทยาชีวิตและความตาย
- พุทธจิตวิทยา
- ทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
- ทักษะการปรึกษาทางจิตวิทยาชีวิตและความตาย
- สัมมนาชรามรณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
- พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. (๒๕๖๐). “การเสริมสร้างสุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุในสํานักปฏิบัติธรรมกรุงเทพมหานคร”. ทุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับสภาวิจัยแห่งชาติ. (จำนวน ๑๒๕ หน้า).
- พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, ศักดิ์ชัย สักกะบูชา, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร., นาฏนภางค์ โพธิ์ไพจิตร์ “โมเดลเชิงสาเหตุของครอบครัวเข้มแข็งในสังคมไทย”. (๒๕๖๔). สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับสภาวิจัยแห่งชาติ. (จํานวน ๑๑๕ หน้า)
- พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. พระปราโมทย์ วาทโกวิโท, คชาภรณ์ คําสอนทา. (๒๕๖๒). “ปัจจัยคัดสรรเชิงพุทธที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ”. ได้รับทุนจาก สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (จํานวน ๑๔๕ หน้า)
บทความวิจัย/วิชาการ
- พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. “การเสริมสร้างสุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุในสํานัก ปฏิบัติธรรมกรุงเทพมหานคร” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ บัณฑิตวิทยาลัย มจร. ปีท่ี ๑๔ ฉบับท่ี ๓เดือนกันยายน –ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑.(TCI.1)
- พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, ศักดิ์ชัย สักกะบูชา, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ. ดร., นาฏนภางค์ โพธิ์ ไพจิตร์ “โมเดลเชิงสาเหตุของครอบครัวเข้มแข็งในสังคมไทย”วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑เดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕. (TCI.2)
- พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. พระปราโมทย์ วาทโกวิโท, คชาภรณ์ คําสอนทา. (๒๕๖๒) “ปัจจัยคัดสรรเชิงพุทธที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ” วารสารสันติ ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับท่ี ๓เดือนพฤษภาคม –กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒.(TCI.2)
ผลงานตำราและหนังสือ
- พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. ชีวิตกับจิตวิทยา. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๖๑. จำนวน ๔๐๐ หน้า.
- พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. ประวัติและแนวคิดทางจิตวิทยา. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ๒๕๖๓. จำนวน ๓๓๕ หน้า.
- พระครูสังฆรักษ์เอกภัทร อภิฉนฺโท, รศ.ดร. จิตวิทยาชีวิตและความตาย. โรงพิมพ์สาละพิมพ์ การพิมพ์กรุงเทพมหานคร. ๒๕๖๔. จํานวน ๒๒๑ หน้า.
กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- มหาวิทยาลัยมหิดล